Bangkok Art and Culture Centre (BACC), Bangkok, Thailand
September 14, 2010 - November 7, 2010
Curator: Dr. Axel Feuss
Opening: September 14, 2010, Bangkok Art and Culture Centre (BACC), 7 pm, 9th floor
Exhibition poster and invitation
ARTISTS LIST
Angkrit Ajchariyasophon อังกฤษ อัจฉริยโสภณ
Apichai Piromrak อภิชัย ภิรมย์รักษ์
Araya Rasdjarmrearnsook อารยา ราษฎร์จำเริญสุข
Att Poomtangon อัฐ พุ่มแตงอ่อน
Chumpon Apisuk จุมพล อภิสุข
Jakapan Vilasineekul จักรพันธ์ วิลาสินีกุล
Kitikong Tilokwattanotai กิติก้อง ติลกวัฒโนทัย
Kosit Juntaratip โฆษิต จันทรทิพย์
Krisana Honguten กฤษณา หงษ์อุเทน
Masa Malakul Na Ayudhaya มาศา มาลากุล ณ อยุธยา
Montien Boonma มณเทียร บุญมา
Morakot Ketklao มรกต เกษเกล้า
Praphan Srisouta ประพันธ์ ศรีสุตา
Pratchaya Phinthong ปรัชญา พิณทอง
Preechaya Siripanich ปรีชญา ศิริพานิช
Sakarin Krue-on สาครินทร์ เครืออ่อน
Sansern Milindasuta สรรเสริญ มิลินทสูต
Singh Intrachooto สิงห์ อินทรชูโต
Sirivan Phungprasert ศิริวรรณ ผุงประเสริฐ
Somboon Hormtientong สมบูรณ์ หอมเทียนทอง
Somyot Hananuntasuk สมยศ หาญอนันทสุข
Sutthirat Supaparinya สุทธิรัตน์ ศุภปริญญา
Suwanit Wirodjanawat สุวนิต วิโรจนวัฒน์
Thaiwijit Poengkasemsomboon ไทวิจิต พึ่งเกษมสมบูรณ์
Thawan Duchanee ถวัลย์ ดัชนี
Vasan Sitthiket วสันต์ สิทธิเขตต์
Wantanee Siripattananuntakul วันทนีย์ ศิริพัฒนานันทกูร
Wasinburee Supanichvoraparch วศินบุรี สุพานิชวรภาชน์
Worariddh Riddhagni วรฤทธิ์ ฤทธาคนี
Exhibition catalogue, published by Goethe Institut, Bangkok 2010, ed. by Axel Feuss, 172 pages, available at
Goethe Institut, Bangkok
INTRODUCTION
(for Thai and German please scroll down)
The Goethe-Institut Thailand, whose mandate is to promote the study of German abroad and to encourage international cultural exchange, has since its establishment in Thailand 50 years ago been a meeting place for artists and an important venue for art exhibitions. Since the early 1970’s the Goethe-Institut has presented works of young Thai artists at its old premises in Phra Athit Road in the vicinity of the National Gallery and the Faculty of Fine Arts of Silpakorn University and many of them consider this as the catalyst for their decision to study Fine Arts in Germany. Some of them even received a scholarship for studies in Germany through the mediation of the Goethe-Institut.
Several years later younger Thai artists followed their teachers and enrolled as well in German academies and universities. Some came just to visit their former fellow students and then decided to continue their education at the same university in Bremen, Cologne or Leipzig. And for others it was a more coincidental decision or they participated in art projects in Germany to which they were invited by the Goethe-Institut or through their Thai artist colleagues
Almost all of these artists first graduated from a Thai University before moving to Germany. And most of them undertook this journey with a “Return Ticket” and came back to Thailand after several years abroad. Four artists still live in Germany, but return to Thailand every year for several months.
The Goethe-Institut Thailand celebrates its 50th anniversary with this art exhibition that shows works of artists who studied in Germany or who participated in exhibitions or art projects there. Some of these artists refer to their stay in Germany in their works, others show recent works.
The age groups of the artists range between those born between 1936 and 1978 and their sojourns in Germany comprise the period between 1965 and 2010. Due to the difference in age, the range of techniques used is equally broad: from classical wood carving, paintings and graphics to installations, object design, performance, video art, computer graphics, a net community and participatory performances with the audience.
นับจากการก่อตั้งสถาบันเมื่อ 50 ปีที่ผ่านมา สถาบันเกอเธ่ ประเทศไทยซึ่งมีหน้าที่หลักเป็นตัวกลางในการ เผยแพร่ภาษาและวัฒนธรรมเยอรมันเปรียบเสมือนจุดนัดพบของเหล่าศิลปินและเป็นสถานที่ในการจัดงาน นิทรรศการแสดงผลงานศิลปะที่สำคัญตา งๆ อยา งสม่ำเสมอ ตั้งแตป่ พี .ศ. 2513 สถาบันเกอเธฯ่ จัดนิทรรศการ แสดงผลงานที่สำคัญของศิลปินไทย ณ สถานที่ตั้งเก่าของสถาบันเกอเธ่ฯ บริเวณถนนพระอาทิตย์ใกล้กับ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป์ และคณะศิลปศาสตร์ของมหาวิทยาลัยศิลปากร นิทรรศการต่างๆ เหล่านั้น เปน็ เหมือนตัวจุดประกายใหแ กห่ ลากหลายศิลปนิ ในการศึกษาตอ่ ดา นศิลปะในประเทศเยอรมนี ศิลปนิ จำนวนหนึ่ง ยังได้รับทุนการศึกษาสำหรับศึกษาต่อที่ประเทศเยอรมนีโดยผ่านสถาบันเกอเธ่ฯ ซึ่งทำหน้าที่เป็นตัวกลางทาง การศึกษา
ไม่กี่ปีหลังจากนั้นศิลปินไทยรุ่นใหม่ได้เจริญรอยตามอาจารย์ผู้สอนโดยการไปศึกษาด้านศิลปะในประเทศ เยอรมนี ศิลปินบางท่านกลับไปเยี่ยมเยียนเพื่อนร่วมชั้นเรียนที่ประเทศเยอรมนีและตัดสินใจศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัยนั้นๆ ไม่ว่าจะเป็นที่เบรเมน โคโลญจน์หรือไลป์ซิก และศิลปินอีกหลายท่านได้ศึกษาต่อที่ประเทศ เยอรมนีไม่ว่าจะด้วยความบังเอิญ ด้วยการบอกต่อหรือการเข้าร่วมโครงการต่างๆ โดยได้รับเชิญจากสถาบัน เกอเธ่ ประเทศเยอรมนีหรือจากศิลปินไทยที่เคยทำงานร่วมกัน
ศิลปินแทบทุกท่านเริ่มศึกษาศิลปะที่ประเทศไทยและหลังจากสำเร็จการศึกษาแล้ว ได้เดินทางไปศึกษาต่อที่ ประเทศเยอรมนี ศิลปนิ สว่ นใหญซ่ ื้อตั๋วเครื่องบินไปประเทศเยอรมนีแบบไปกลับ (Return Ticket) เพื่อเดินทาง กลับประเทศไทยหลังจบการศึกษา ในปจั จุบันมีศิลปนิ 4 ทา นที่พำนัก และทำงานที่ประเทศเยอรมนี แตพ่ วกเขา ยังคงกลับประเทศไทยทุกปีและพำนักเป็นเวลาหลายเดือน
ในวาระครบรอบ 50 ปีของการก่อตั้งสถาบันเกอเธ่ฯ ทางสถาบันจึงได้จัดนิทรรศการครั้งยิ่งใหญ่ ซึ่งรวบรวม ผลงานทางศิลปะของหลากหลายศิลปินที่ศึกษาหรือร่วมแสดงงานนิทรรศการและโครงการต่างๆ ที่มีชื่อเสียง ในประเทศเยอรมนี ศิลปินบางท่านนำอิทธิพลจากการพำนักที่ประเทศเยอรมนีมาใช้ในการแสดงผลงานและ บางท่านได้แสดงผลงานที่มีรูปแบบแปลกใหม่
ศิลปินแต่ละท่านเกิดในช่วงปีพ.ศ. 2479 ถึง พ.ศ. 2521 และพำนักอยู่ประเทศเยอรมนีช่วงปีพ.ศ. 2508 ถึงปีพ.ศ. 2553 เนื่องด้วยความแตกต่างของอายุศิลปินแต่ละท่านทำให้เราสามารถ สังเกตเห็นเทคนิคทาง ศิลปะอันหลากหลายในงานนิทรรศการนี้ได้ โดยมีการจัดแสดงผลงานตั้งแต่งานแกะสลักไม้แบบคลาสสิก ภาพวาดและภาพกราฟฟิก การจัดวาง การออกแบบสิ่งของ การแสดงและศิลปะทางวิดีโอ รวมไปถึง คอมพิวเตอร์กราฟฟิก อินเตอร์เน็ตบล็อกและกิจกรรมต่างๆ ซึ่งผู้ร่วมงานนิทรรศการสามารถสัมผัสได้ด้วย ตนเอง
Das Goethe-Institut Thailand, dessen Hauptaufgabe in der Vermittlung der deutschen Sprache und Kultur besteht, ist seit seiner Gründung vor 50 Jahren immer wieder Treffpunkt von Künstlern und Ort wichtiger Kunstausstellungen gewesen. Seit 1970 zeigte das Goethe-Institut vor allem an seinem alten Standort in der Phra Athit Road unweit der Nationalgalerie und der Kunstfakultät der Silpakorn University wichtige Ausstellungen thailändischer Künstler. Von zahlreichen Künstlern werden diese Ausstellungen als Auslöser für ein Kunststudium in Deutschland genannt. Einige erhielten durch Vermittlung des Goethe-Instituts Stipendien für ein Studium in Deutschland.
Jüngere thailändische Künstler folgten ihren Lehrern einige Jahre später und gingen ebenfalls zum Kunststudium nach Deutschland. Andere kamen, um ihre Kommilitonen in Deutschland zu besuchen und um selbst ein Studium an der selben Universität in Bremen, Köln oder Leipzig aufzunehmen. Andere folgten dem Zufall oder dem Hörensagen oder nahmen an Projekten teil, zu denen sie vom Goethe-Institut in Deutschland oder von ihren thailändischen Künstlerkollegen eingeladen wurden.
Falls alle Künstler haben zunächst in Thailand studiert und sind erst als graduierte Studenten nach Deutschland gegangen. Die meisten von ihnen nutzten ihre Fahrkarte nach Deutschland als "Return Ticket" und gingen anschließend nach Thailand zurück. Vier Künstler leben und arbeiten heute noch in Deutschland, kehren aber jedes Jahr für mehrere Monate nach Thailand zurück.
Das Goethe-Institut Thailand feiert sein 50jähriges Bestehen in Bangkok mit dieser großen Kunstausstellung, in der Werke von Künstlern zu sehen sind, die in Deutschland studiert haben oder die in Deutschland bedeutende Ausstellungen oder Projekte hatten. Einige Künstler nehmen auf ihre Zeit in Deutschland Bezug, andere zeigen ihre neuesten Arbeiten.
Die Geburtsjahrgänge der Künstler umfassen den Zeitraum von 1936 und 1978, die Aufenthaltszeiträume in Deutschland zwischen 1965 und 2010. Aufgrund der großen Altersunterschiede ist auch eine große Bandbreite an künstlerischen Techniken zu sehen. Zu sehen sind Arbeiten vom klassischen Holzschnitt über Gemälde und Graphiken, Installationen, Design-Objekten, Performances und Videokunst bis hin zu Computer-Graphik, einer Internet-Community und Aktionen, an denen die Ausstellungsbesucher selbst teilnehmen können.